การดื่มน้ำขณะท้องว่าง จะส่งผลให้ร่างกายของคุณเป็นแบบนี้

การดื่มน้ำขณะท้องว่าง จะส่งผลให้ร่างกายของคุณเป็นแบบนี้

การดื่มน้ำเมื่อท้องว่างผ่านกระเพาะอาหาร เพื่อรักษาสุขภาพที่ดีในประเทศญี่ปุ่นทุกวันนี้ เป็นที่นิยมดื่มน้ำทันทีหลังจากตื่นนอนตอนเช้า (ก่อนแปรงฟันนะ) เพื่อการรักษาสุขภาพที่ดี

มีการทดลองทางวิทยาศาสตร์ “พบว่าน้ำสามารถใช้ชะลอความแก่” และสามารถบำบัดรักษาโรคเหล่านี้ได้ผล 100% (แบบค่อยเป็นค่อยไปต้องใช้ระยะเวลา)

– ปวดหัว ปวดตามตัว โรคระบบหัวใจ โรคไขข้ออักเสบ

– โรคหัวใจเต้นเร็ว โรคลมบ้า หมู โรคอ้วน

– โรคหลอดลมอักเสบ โรคหืด วัณโรค

– อาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ไขสันหลังอักเสบ

– โรคไตและยูริก โรคแสลง คลื่นไส้ต่างๆ โรคกระเพาะ

– โรคท้องร่วง โรคริดสีดวงทวาร โรคเบาหวาน

– โรคอาการท้องผูก โรคตา โรคภายในสตรี

– มะเร็ง รอบเดือนไม่ปกติ โรคคอ หู จมูก

วิธีการปฏิบัติในทุกๆวัน

1. ตื่นนอนตอนเช้า ก่อนแปรงฟัน ให้ดื่มน้ำ 4 แก้ว (640 ซีซี)

2. หลังจากนั้นสามารถและล้างหน้าอาบน้ำได้ แต่ต้องไม่ดื่ม หรือรับประทานอะไร จนกว่า 45 นาทีผ่านไป จึงจะรับประทานได้ตามปกติ

3. หลังรับประทานอาหารเช้า กลางวัน เย็น ไปแล้ว 15 นาที ไม่ควรดื่มน้ำหรือรับประทานอะไร จนกว่า 2 ชั่วโมงผ่านไป

4. ผู้ป่วย หรือคนชรา ที่ไม่สามารถดื่มน้ำ 4 แก้ว ก็ให้ค่อยๆ ดื่ม ค่อยเป็นค่อยไปเรื่อยๆ จนได้ครบ 4 แก้ว

ข้อปฏิบัติ 4 ข้อดังกล่าว จะทำให้ท่านบำบัดรักษาโรคที่เป็นอยู่ค่อยๆเบาและหายขาดได้ในที่สุด ทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น และไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ทั้งสิ้นเพียงแต่อาจปัสสาวะบ่อยขึ้นและหลังดื่มน้ำไปแล้วประมาณ 1-2 ชั่วโมง จะปวดปัสสาวะ

จากสถิติข้อมูลโรคที่บำบัดรักษาทำให้หายได้ภายในเวลาดังนี้

1. โรคความดันโลหิตสูง 30 วัน

2. โรคกระเพาะ 10 วัน

3. โรคเบาหวาน 30 วัน

4. โรคท้องผูก 10 วัน

5. โรคมะเร็ง 180 วัน

6. โรควัณโรค 90 วัน

7. โรคไขข้ออักเสบจะเห็นผลภายใน 3 วัน

เห็นแบบนี้แล้ว ก็อย่าลืมดื่มน้ำกันเยอะๆนะ แล้วแบ่งปันประโยชน์นี้ให้เพื่อนๆที่รักสุขภาพได้อ่านกันด้วยครับ

ข้อมูลเพิ่มเติมถึง 6 ประโยชน์จากน้ำอุ่น

ขอขอบคุณแหล่งที่มา www.janjao.net

* บทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับสุขภาพทั้งหมด ทางเว็บไซต์ได้รวบรวมไว้เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้อ่านเท่านั้น จึงไม่สามารถนำไปใช้นำไปอ้างอิงหรือใช้แทนการวินิจฉัยของแพทย์ได้ หากมีการนำข้อมูลในเว็บไซต์ไปใช้ ทางเว็บไซต์จะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น จากการนําข้อมูลดังกล่าวไปใช้ ในทุกกรณี โดยไม่มีข้อยกเว้น ดังนั้นควรปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อขอคำอธิบายเพิ่มเติม และควรต้องทราบว่า ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเป็นข้อมูลทั่วๆ ไป ไม่สามารถนำมาใช้ได้กับคนไข้ทุกๆคน
** ในบางกรณี เป็นสื่อกลางในการรวบรวมบทความ และนำเสนอข้อมูลที่มีอยู่แล้วในสื่อต่างๆ โดยเราจะอ้างอิง ให้เครดิต ถึงแหล่งที่มาในทุกๆ ครั้งไป

Facebook Comments

Leave a Reply

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *